ความน่าจะเป็น (probability)

ที่มา http://www.iadth.com

  1. โสภิดา สมเพ็ชร

    ตัวอย่าง ในลิ้นชักมีถุงเท้าอยู่4คู่เป็นถุงเท้าสีดำ2คู่และสีขาว2คู่ ถ้าทำการทดลองสุ่มโดยหยิบถุงเท้ามา2คู่ ให้หาความน่าจะเป็นที่จะได้ถุงเท้าทั้งสองคู่เป็นสีเดียวกัน
    วิธีทำ มีถุงเท้าสีดำ2คู่ ให้เป็น ด1,ด2
    มีถุงเท้าสีขาว2คู่ ให้เป็น ข1,ข2
    S={(ด1ด2),(ด1ข1),(ด1ข2),(ด2ข1),(ด2ข2),(ข1ข2),}
    n(S)=6
    n(E)=2 นั้นก็คือ{(ด1ด2),(ข1ข2)}
    เพราะฉะนั้น ความน่าจะเป็นที่จะได้ถุงเท้าทั้งสองคู่เป็นสีเดียวกันเท่ากับ2/6หรือ1/3

  2. รัตนพร มูลมะณีย์

    ตัวอย่าง ความน่าจะเป็นที่ A เรียงเป็นตัวแรก จากการเรียงตัวอักษร 2 ตัวจากอักษร 3 ตัว คือ A , B และ C

    S = { AB , BA , AC , CA , BC , CB }
    E = { AB , AC }
    P(E) = 2/6 = 0.33
    นั่นคือ ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ที่ A เรียงเป็นตัวแรก = 2/6 = 0.33

  3. อนุสรณ์ หงส์โสดา ชั้น ม.5/8 เลขที่ 1

    3. ในการจัดงานของบริษัทแห่งหนึ่ง ได้แจบัตรแก่ผู้ร่วมงาน 100 ใบซึ่งมีเลขตั้งแต่ 00 ถึง 99 กำกับอยู่ สุ่มหยิบต้นขั้วของบัตรขึ้นมา 1 ใบ เพื่อมอบรางวัลแก่ผู้เข้าชมงาน ผู้ที่มีบัตรซึ่งมีหมายเลขที่ตรงกับต้นขั้วจะได้รับรางวัลที่ 1 ส่วนผู้ที่มีหมายเลขซึ่งมีหลักหน่วยตรงกันกับต้นขั้วหรือหลักสิบตรงกับต้นขั้วเพียงหลักเดียวจะได้รับรางวัลที่ 2 ถ้าสมชายได้รับแจกบัตรมา 1 ใบความน่าจะเป็นที่สมชายจะได้รับรางวัลคือข้อใดต่อไปนี้

    วิธีทำ

    ให้ E แทนเหตุการณ์ที่สมชายจะได้รับรางวัล ดังนั้นเราจะได้ n(E) = 19 ทั้งนี้วิธีที่จะได้รางวัลที่หนึ่งมี 1 วิธี วิธีที่หลักสิบตรงกับต้นขั้วมี 9 วิธี และวิธีที่หลักหน่วยตรงกับต้นขั้วมี 9 วิธี

    ดังนั้นเราจะได้ P(E) = n(E)/n(s) = 19/100

  4. สลิตา พืชสิงห์

    ตัวอย่าง หยิบลูกปิงปอง 2 ลูกจากกล่องใบหนึ่งที่มีลูกปิงปองสีแดง สีขาว และสีส้ม สีละ 1 ลูก โดยหยิบทีละลูกแล้ววางคืน จงเขียนแซมเปิลสเปซของการหยิบ
    วิธีทำ ด แทนแดง ข แทนขาว ส แทนส้ม
    S= { ดด,ดข,ดส,ขข,ขด,ขส,สส,สด,สข}
    n(s)=9

  5. สลิตา พืชสิงห์

    ตัวอย่างที่ จงหาความน่าจะเป็นของการทอดลูกเต๋า 1 ลูก 1 ครั้ง ที่มีแต้มมากกว่า 3
    วิธีทำ ทอดลูกเต๋า 1 ลูก 1 ครั้ง จะได้ S = { 1, 2, 3, 4, 5, 6 }
    ดังนั้น n(S) = 6
    เหตุการณ์ที่ต้องการคือ ให้ขึ้นแต้มมากกว่า 3 จะได้ E = { 4, 5, 6 }
    ดังนั้น n(E) = 3
    ความน่าจะเป็นของการทอดลูกเต๋า 1 ลูก 1 ครั้ง ที่มีแต้มมากกว่า 3 คือ

  6. นางสาวศุภลักษณ์ โทนหงส์ษา

    ตัวอย่าง
    กล่องใบหนึ่งมีลูกแก้วสีขาว 3 ลูก สีแดง 2 ลูก หยิบลูกแก้วจากกล่อง 2 ลูก
    จงหาเหตุการณ์ที่จะได้ลูกแก้วสีขาว 1 ลูก สีแดง 1 ลูก
    เนื่องจากเราสนใจแซมเปิลสเปซของลูกแก้วแต่ละลูกที่ถูกหยิบขึ้นมา
    ดังนั้นเราให้ ข1 , ข2 , ข3 เป็นลูกแก้วสีขาว 3 ลูก และ ด1 , ด2 เป็นลูกแก้วสีแดง 2 ลูก
    แซมเปิลสเปซ S = { ข1ข2 ,ข1ข3 , ข1ด1 ,ข1ด2, ข2ข3 , ข2ด1 , ข2ด2 , ข3ด1 , ข3ด2 , ด1ด2 }
    ให้ A เป็นเหตุการณ์ที่ผลลัพธ์เป็นลูกแก้วสีขาว 1 ลูก และสีแดง 1 ลูก
    เหตุการณ์ A = { ข1ด1 , ข1ด2 , ข2ด1 , ข2ด2 , ข3ด1, ข3ด2 }

  7. ดวงพร หารไกร

    จาการทอดลูกเต๋า1ลูกและเหรียญบาท1เหรียญ1ครั้งพร้อมกันจงหาความน่าจะเป็นของเหตุการณ์
    1.ลูกเต๋าขึ้นแต้มไม่เกิน6
    วิธีทำ S={H1,H2,H3,H4,H5,H6,T1,T2,T3,T4,T5,T6}
    n(S)=12
    n(E1)=12นั่นคือ{H1,H2,H3,H4,H5,H6,T1,T2,T3,T4,T5,T6}
    ดังนั้น ลูกเต๋าขึ้นแต้มไม่เกิน6เท่ากับ12/12หรือ1

  8. นายธีรวัฒน์ วรรณสิงห์ ม.5/8 เลขที่ 2

    ในการโยนลูกเต๋าที่เที่ยงตรง 1 ลูก ความน่าจะเป็นที่จะได้แต้มบนลูกเต๋ามากกว่าหรือ
    เท่ากับ 3 เป็นเท่าใด
    วิธีทา ในที่นี้ S = {1, 2, 3, 4, 5, 6}
    ทั้งนี้จะได้ว่าน้าหนักของแต่ละจุดตัวอย่างเท่ากับ
    6
    1
    ให้ E = เหตุการณ์ที่แต้มบนลูกเต๋ามากกว่าหรือเท่ากับ 3
    = {3, 4, 5, 6}
    P(E) =1/6+1/6+1/6+1/6

    =4/6
    =2/3

  9. น.ส.พิสุกรรณิการ์ มนัสสิลา

    ลูกเต๋าลูกหนึ่งถูกถ่วงน้ำหนักให้แต้มคู่แต่ละหน้ามีโอกาสจะเกิดขึ้นเป็นสองเท่าของแต้มคี่แต่ละหน้า ความน่าจะเป็นที่โยนลูกเต๋า 1 ครั้งได้แต้มเป็น 1 หรือ แต้มคู่ เท่ากับข้อใด

    ให้ S แทน sample space จะได้ S = {1,2,3,4,5,6}

    สมาชิกแต่ละตัวใน S เกิดขึ้นไม่เท่ากันดังนี้

    P({1}) = P({3}) = P({5}) = 1/9

    P({2}) = P({4}) = P({6}) = 2/9

    ให้ E = {1, 2, 4, 6} เราต้องการหา P(E)
    ให้ a แทน ความน่าจะเป็นที่ลูกเต๋าจะเกิดแต้ม 2
    b แทน ความน่าจะเป็นที่ลูกเต๋าจะเกิดแต้ม 1

    ดังนั้น a = 2b และ 3a + 3b = 1
    2(2b) + 3b =1
    b = 1/9 , a = 2/9

    เพราะฉะนั้น ในการโยนลูกเต๋าลูกนี้ 1 ครั้ง ความน่าจะเป็นที่จะได้แต้ม 1 หรือแต้มคู่ คือ

    3a + b = 6/9 + 1/9 = 7/9

  10. นางสาวปิยนุช โพนทา

    ตัวอย่าง ความน่าจะเป็นที่ C เรียงเป็นตัวแรก จากการเรียงตัวอักษร 2 ตัวจากอักษร 3 ตัว คือ C,D และ E

    S = { CD , DC , CE , EC , DE, ED }
    E = { CD , CE }
    P(E) = 2/6 = 0.33
    นั่นคือ ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ที่ A เรียงเป็นตัวแรก = 2/6 = 0.33

  11. นางสาวสมฤทัย สันตสิงห์

    ตัวอย่าง ความน่าจะเป็นที่ Oเรียงเป็นตัวแรก จากการเรียงตัวอักษร 2 ตัวจากอักษร 3 ตัว คือ O,D และ P

    S = { OD , DO, OL , LO , DL, LD }
    E = { OD ,OL }
    P(L) = 2/6 = 0.33
    นั่นคือ ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ที่ A เรียงเป็นตัวแรก = 2/6 = 0.33

  12. นางสาวสมฤทัย สันตสิงห์

    ตัวอย่าง ความน่าจะเป็นที่ Oเรียงเป็นตัวแรก จากการเรียงตัวอักษร 2 ตัวจากอักษร 3 ตัว คือ O,D และ L

    S = { OD , DO, OL , LO , DL, LD }
    E = { OD ,OL }
    P(L) = 2/6 = 0.33
    นั่นคือ ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ที่ A เรียงเป็นตัวแรก = 2/6 = 0.33

  13. พัชราภา อุปเนตร

    จากการทอดลูกเต๋า1ลูกและเหรียญบาท1เหรียญ1ครั้งพร้อมกันจงหาความน่าจะเป็นของเหตุการณ์
    1.ลูกเต๋าขึ้นแต้มไม่เกิน2
    วิธีทำ S={H1,H2,T1,T2}
    n(S)=4
    n(E1)=12นั่นคือ{H1,H2,H3,H4,H5,H6,T1,T2,T3,T4,T5,T6}
    ดังนั้น ลูกเต๋าขึ้นแต้มไม่เกิน6เท่ากับ4/12หรือ0.33

  14. นางสาว บุญจิรา ขันทะวงค์ ม. 5/8

    จาการทอดลูกเต๋า1ลูกและเหรียญบาท1เหรียญ1ครั้งพร้อมกันจงหาความน่าจะเป็นของเหตุการณ์
    1.ลูกเต๋าขึ้นแต้มไม่เกิน5
    วิธีทำ S={H1,H2,H3,H4,H5,H6,T1,T2,T3,T4,T5}
    n(S)=10
    n(E1)=10นั่นคือ{H1,H2,H3,H4,H5,H6,T1,T2,T3,T4,T5}
    ดังนั้น ลูกเต๋าขึ้นแต้มไม่เกิน5เท่ากับ10/10หรือ1

  15. นางสาว สุพาพร หลวงเจริญ

    ผลการสอบวิชาคณิตศาสตร์และวิชาเคมีของนักเรียนกลุ่มหนึ่ง ปรากฏว่า 1/3 ของนักเรียนทั้งหมดผ่านคณิตศาสตร์ และ 8/15 ของนักเรียนทั้งหมดผ่านวิชาเคมี ถ้าความน่าจะเป็นของนักเรียนคนหนึ่งในกลุ่มนี้ที่จะสอบผ่านอย่างมากหนึ่งวิชาเป็น 4/5 แล้ว ความน่าจะเป็นที่เขาจะสอบผ่านอย่างน้อยหนึ่งวิชา เท่ากับข้อใดต่อไปนี้

    ให้ M แทนเหตุการณ์ที่นักเรียนสอบวิชาคณิตศาสตร์ผ่าน และ C แทนเหตุการณ์ที่นักเรียนสอบวิชาเคมีผ่าน

    จากโจทย์จะได้

    P(M) = 1/3, P(C) = 8/15, P[(M ∩ C)’ ] = 4/5

    จากเงื่อนไขที่ 3 เราจะได้

    P(M ∩ C) = 1 – [(M ∩ C)’ ] = 1 – 4/5 = 1/5

    ดังนั้นเราจะได้ความน่าจะเป็นที่นักเรียนคนนี้จะสอบผ่านอย่างน้อยหนึ่งวิชาคือ

    P(M U C) = P(M) + P(C) – P(M ∩ C) = 1/3 + 8/15 -1/5 = 10/15 = 2/3

  16. นางสาว พัชราวลัย สืบสำราญ

    กล่องใบหนึ่งมีลูกแก้วสีขาว 3 ลูก สีแดง 2 ลูก หยิบลูกแก้วจากกล่อง 2 ลูก
    จงหาเหตุการณ์ที่จะได้ลูกแก้วสีขาว 1 ลูก สีแดง 1 ลูก
    เนื่องจากเราสนใจแซมเปิลสเปซของลูกแก้วแต่ละลูกที่ถูกหยิบขึ้นมา
    ดังนั้นเราให้ ข1 , ข2 , ข3 เป็นลูกแก้วสีขาว 3 ลูก และ ด1 , ด2 เป็นลูกแก้วสีแดง 2 ลูก
    แซมเปิลสเปซ S = { ข1ข2 ,ข1ข3 , ข1ด1 ,ข1ด2, ข2ข3 , ข2ด1 , ข2ด2 , ข3ด1 , ข3ด2 , ด1ด2 }
    ให้ A เป็นเหตุการณ์ที่ผลลัพธ์เป็นลูกแก้วสีขาว 1 ลูก และสีแดง 1 ลูก
    เหตุการณ์ A = { ข1ด1 , ข1ด2 , ข2ด1 , ข2ด2 , ข3ด1, ข3ด2 }

  17. น.ส กาญจนา เสาร์วงค์ ม. 5/8 เลขที่38

    วอย่าง ความน่าจะเป็นที่ Oเรียงเป็นตัวแรก จากการเรียงตัวอักษร 2 ตัวจากอักษร 3 ตัว คือ K,N และ P

    S = { KN , NK, NP , PN, NP, NP }
    E = { KN ,NP }
    P(L) = 2/6 = 0.33
    นั่นคือ ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ที่ A เรียงเป็นตัวแรก = 2/6 = 0.33

  18. นางสาว พรสวรรค์ มหาหงส์ เลขที่ 21 ม.5/8

    ตัวอย่าง หยิบลูกปิงปอง 2 ลูกจากกล่องใบหนึ่งที่มีลูกปิงปองสีม่วง สีแสด และสีดำ สีละ 1 ลูก โดยหยิบทีละลูกแล้ววางคืน จงเขียนแซมเปิลสเปซของการหยิบ
    วิธีทำ ม แทนม่วง ส แทน แสด ด แทน ดำ
    S= { มม,มส,มด,สม,สด,สส,ดด,ดส,ดม}
    n(s)=9

  19. นางสาว เฉลิมมาศ ปัตพี เลขที่ 18 ม.5/8

    ตัวอย่าง ความน่าจะเป็นที่ E เรียงเป็นตัวแรก จากการเรียงตัวอักษร 2 ตัวจากอักษร 3 ตัว คือ E, D และ F

    S = { ED , DE , FE , DF, FD , EF }
    E = { ED , EF }
    P(E) = 2/6 = 0.33
    นั่นคือ ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ที่ A เรียงเป็นตัวแรก = 2/6 = 0.33

  20. นางสาววิชชุดา วงค์อามาตย์ ม.5/8

    ความน่าจะเป็นที่ Oเรียงเป็นตัวแรก จากการเรียงตัวอักษร 2 ตัวจากอักษร 3 ตัว คือ A,B และ C

    S = { AB , BA, CA , BC, CB, AC }
    E = { AB ,AC }
    P(L) = 2/6 = 0.33
    นั่นคือ ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ที่ A เรียงเป็นตัวแรก = 2/6 = 0.33

  21. นางสาวเอี่ยมอารีย์ จันคติ ม.5/8

    ความน่าจะเป็นที่ Oเรียงเป็นตัวแรก จากการเรียงตัวอักษร 2 ตัวจากอักษร 3 ตัว คือ A,B และ C

    S = {HI,IE,JH,IJ,JI,HJ}
    E = { HI ,HJ }
    P(L) = 2/6 = 0.33
    นั่นคือ ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ที่ A เรียงเป็นตัวแรก = 2/6 = 0.33

  22. ปภัสสร คำภูจูม

    ความน่าจะเป็นที่ A เรียงเป็นตัวแรก จากการเรียงตัวอักษร 2 ตัวจากอักษร 3 ตัว คือ A , B และ C
    วิธีทำ S = { AB , BA , AC , CA , BC , CB }
    E = { AB , AC }
    P(E) = นั่นคือ ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ที่ A เรียงเป็นตัวแรก =

  23. น.ส พรรณธิชา ด่านวันดี เลขที่ 31 ม.5/8

    ตัวอย่าง หยิบลูกปิงปอง 2 ลูกจากกล่องใบหนึ่งที่มีลูกปิงปองสีแดง สีขาว และสีส้ม สีละ 1 ลูก โดยหยิบทีละลูกแล้ววางคืน จงเขียนแซมเปิลสเปซของการหยิบ
    วิธีทำ ด แทนแดง ข แทนขาว ส แทนส้ม
    S= { ดด,ดข,ดส,ขข,ขด,ขส,สส,สด,สข}
    n(s)=9

  24. พรรณธิรา จันทร์เหลือง เลขที่20 ชั้น ม.๕/๘

    ตัวอย่าง ความน่าจะเป็นที่ C เรียงเป็นตัวแรก จากการเรียงตัวอักษร 2 ตัวจากอักษร 3 ตัว คือ C,D และ E

    S = { CD , DC , CE , EC , DE, ED }
    E = { CD , CE }
    P(E) = 2/6 = 0.33
    นั่นคือ ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ที่ A เรียงเป็นตัวแรก = 2/6 = 0.33

  25. นาย ฤทธิชัย มีโวหาร ชั้น ม. 5/8 เลขที่ 9

    ตัวอย่าง ความน่าจะเป็นที่ C เรียงเป็นตัวแรก จากการเรียงตัวอักษร 2 ตัวจากอักษร 3 ตัว คือ E,Fและ G

    S = { EF,EG,FG,FE,GE,GF }
    E = { EF,GF }
    P(E) = 2/6 = 0.33
    นั่นคือ ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ที่ A เรียงเป็นตัวแรก = 2/6 = 0.33

  26. นาย ฤทธิชัย มีโวหาร ชั้น ม. 5/8 เลขที่ 9

    ตัวอย่าง ความน่าจะเป็นที่ E เรียงเป็นตัวแรก จากการเรียงตัวอักษร 2 ตัวจากอักษร 3 ตัว คือ E,Fและ G

    S = { EF,EG,FG,FE,GE,GF }
    E = { EF,GF }
    P(E) = 2/6 = 0.33
    นั่นคือ ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ที่ A เรียงเป็นตัวแรก = 2/6 = 0.33
    (อันนี้ของจริงครับ)

  27. นางสาว นุศรา สมเพ็ชร ชั้น ม. 5/8 เลขที่ 43

    ตัวอย่าง ความน่าจะเป็นที่ P เรียงเป็นตัวแรก จากการเรียงตัวอักษร 2 ตัวจากอักษร 3 ตัว คือP,Qและ R
    S = { PQ,QR,RP,RQ,QP,PR }
    E = { PQ,PR}
    P(E) = 2/6 = 0.33
    นั่นคือ ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ที่ A เรียงเป็นตัวแรก = 2/6 = 0.33

  28. ศุภรัตน์ สิมลี ม.5/8 เลขที่16

    จะจัดนักเรียน 10 คน ซึ่งมีนายสาทิศกับนางสาวสุดาอยู่ด้วย ความน่าจะเป็นที่

    ก. นายสาทิศกับนางสาวสุดาจะนั่งติดกัน

    ข. นายสาทิศกับนางสาวสุดาจะนั่งแยกกัน

    ค. นายสาทิศอยู่หัวแถวและนางสาวสุดาอยู่ท้ายแถว

    1) หา n(S) ให้ S เป็นแซมเปิลสเปซ จัดได้ 10! วิธี

    หา n(E) Eก นายสาทิศกับนางสาวสุดาจะนั่งติดกัน จัดได้ ( 9! X 2! )

    P(Eก) = =

    ดังนั้นความน่าจะเป็นที่นายสาทิศกับนางสาวสุดาจะนั่งติดกัน เท่ากับ

    2) หา n(E) ให้ Eข นายสาทิศกับนางสาวสุดาจะนั่งแยกกัน จัดได้ 10! – (9! 2!) วิธี

    P(Eข) = = 1 – =

    ดังนั้นความน่าจะเป็นที่นายสาทิศกับนางสาวสุดาจะนั่งแยกกันเท่ากับ

    3) หา n(E) ให้ Eค นายสาทิศอยู่หัวแถวนางสาวสุดาท้ายแถว จัดได้ 1 X 8! X 1 วิธี

    P(Eค) = =

    ดังนั้นความน่าจะเป็นที่นายสาทิศอยู่หัวแถวนางสาวสุดาท้ายแถว เท่ากับ

  29. ศุภรัตน์ สิมลี ม.5/8 เลขที่16

    ความน่าจะเป็นที่ A เรียงเป็นตัวแรก จากการเรียงตัวอักษร 2 ตัวจากอักษร 3 ตัว คือ A , B และ C

    S = { AB , BA , AC , CA , BC , CB }

    E = { AB , AC }

    P(E) =

    นั่นคือ ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ที่ A เรียงเป็นตัวแรก =

  30. นางสาว ศิรินาฎ คุณศิริ เลขที่ 22 ม.5/8

    ตัวอย่าง ความน่าจะเป็นที่ Oเรียงเป็นตัวแรก จากการเรียงตัวอักษร 2 ตัวจากอักษร 3 ตัว คือ O,Fและ L

    S = { OF , FO, OL , LO , FL, LF }
    E = { OF ,OL }
    P(L) = 2/6 = 0.33
    นั่นคือ ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ที่ A เรียงเป็นตัวแรก = 2/6 = 0.33

  31. นาย เศกสิทธิ์ พรมบุตร เลขที่ 10 ม.5/8

    ตัวอย่าง ความน่าจะเป็นที่ Oเรียงเป็นตัวแรก จากการเรียงตัวอักษร 2 ตัวจากอักษร 3 ตัว คือ O,D และ A

    S = { OD , DO, OA , AO , DA, AD }
    E = { OD ,OA }
    P(L) = 2/6 = 0.33
    นั่นคือ ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ที่ A เรียงเป็นตัวแรก = 2/6 = 0.33

  32. นาย ทินกร ประพล เลขที่ 4 ม.5/8

    ตัวอย่าง ความน่าจะเป็นที่ Oเรียงเป็นตัวแรก จากการเรียงตัวอักษร 2 ตัวจากอักษร 3 ตัว คือ A,D และ L

    S = { AD , DA, AL , LA , DL, LD }
    E = { AD ,AL }
    P(L) = 2/6 = 0.33
    นั่นคือ ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ที่ A เรียงเป็นตัวแรก = 2/6 = 0.33

  33. นางสาว สุดาภรณ์ จันละคร ม.5/10 เลขที่ 20

    จงหาวิธีจัดต้นกุหลาบใส่กระถางโดยที่ต้นกุหลาบมี 3 ต้น ได้แก่ แดง ขาว ชมพู ให้ใส่ลงใน 2 กระถาง ได้แก่กระถางใหญ่และกระถางเล็ก
    วิธีทำ ( แดง,ใหญ่) ( แดง,เล็ก) ( ขาว,ใหญ่) (ขาว,เล็ก) (ชมพู,ใหญ่) (ชมพู,เล็ก)
    = (3)(2)
    = 6 วิธี
    นั่นคือ ความน่าจะเป็นของวิธีการจัดต้นกุหลาบใส่กระถาง
    ได้ 6 วิธี

  34. นางสาว สุถัค ประโม ม.5/10 เลขที่ 29

    คณินมีกางเกง 4 ตัวซึ่งมีสีเเดง สีชมพู สีเหลืองเเละสีฟ้า และมีเสื้อยืดแขนสั้นและแขนยาว โดยให้ใส่ทั้งกางเกงเเละเสื้ออย่างละ 1ตัว
    วิธีทำ (สีแดง,เสื้อยืดเเขนสั้น) (สีแดง,เสื้อยืดเเขนยาว) (สีชมพู,เสื้อยืดเเขนสั้น) (สีชมพู,เสื้อยืดเเขนยาว) (สีเหลือง,เสื้อยืดเเขนสั้น) (สีเหลือง,เสื้อยืดเเขนยาว) (สีฟ้า,เสื้อยืดเเขนสั้น) (สีฟ้า,เสื้อยืดเเขนยาว)
    =(4)(2)
    =8ชุด
    นั่นคือ ความน่าจะเป็นของการเเต่งตัวของคณินมี 8 ชุด

  35. น.ส. วารียา ปัญยาง ชั้น ม. 5/10 เลขที่ 34

    มีผลไม้ 4 ชนิด ได้แก่ ส้ม เงาะ องุ่น และลิ้นจี่และมีขนมหวานได้แก่ กล้วยบวชชีและบัวลอยไข่หวาน ถ้าต้องการรับปประทานอาหารอย่างละ 1 ชนิด จะมีวิธีเลือกรับประทานทั้งหมดได้กี่วิธี
    วิธีทำ
    (ส้ม,กล้วยบวชชี),(ส้ม,บัวลอยไข่หวาน),( เงาะ,กล้วยบวชชี), (เงาะ,บัวลอยไข่หวาน), (องุ่น,กล้วยบวชชี), (องุ่น,บัวลอยไข่หวาน),( ลิ้นจี่กล้วยบวช), (ลิ้นจี่,บัวลอยไข่หวาน)
    =(4)(2)
    = 8 วิธี
    นั่นคือ ความน่าจะเป็นในการเลือกรับประทานทั้งหมดมี 8 วิธี

  36. น.ส.จริยา เศกสัน ชั้นม.5/10 เลขที่ 18

    มีตุ๊กตา3ชนิด คือ ตุ๊กตาหมีพู ตุ๊กตาโดเรม่อน ตุ๊กตาหมีแพนด้า และมีกล่องใส่ตุ๊กตาอยู่ 2 ขนาดคือ กล่องเล็ก และกล่องใหญ่ จะมีวิธีเลือกจัดตุ๊กตาใส่กล่องได้ทั้งหมดกี่วิธี
    วิธีทำ (ตุ๊กตาหมีพู,กล่องเล็ก) (ตุ๊กตาหมีพู,กล่องใหญ่) (ตุ๊กตาโดเรม่อน,กล่องเล็ก) (ตุ๊กตาโดเรม่อน,กล่องใหญ่) (ตุ๊กตาหมีแพนด้า,กล่องเล็ก) (ตุ๊กตาหมีแพนด้า,กล่องใหญ่)
    =(3)(2)
    =6 วิธี
    นั่นคือ ความน่าจะเป็นของการเลือกจัดตุ๊กตาใส่กล่อง ทั้งหมดมี 6 วิธี

  37. ธนสิทธิ์ ตันตรา ม.5/10 เลขที่ 10

    กล่องใบหนึ่งมีลูกแก้วสีขาว 3 ลูก สีแดง 2 ลูก หยิบลูกแก้วจากกล่อง 2 ลูก จงหาเหตุการณ์ที่จะได้ลูกแก้วสีขาว 1 ลูก สีแดง 1 ลูก
    วิธีทำ เราให้ ข1 , ข2 , ข3 เป็นลูกแก้วสีขาว 3 ลูก และ ด1 , ด2 เป็นลูกแก้วสีแดง 2 ลูก จะได้ = { ข1ข2 ,ข1ข3 , ข1ด1 ,ข1ด2, ข2ข3 , ข2ด1 , ข2ด2 , ข3ด1 , ข3ด2 , ด1ด2 }
    ให้ A เป็นเหตุการณ์ที่ผลลัพธ์เป็นลูกแก้วสีขาว 1 ลูก และสีแดง 1 ลูก
    เหตุการณ์ A = { ข1ด1 , ข1ด2 , ข2ด1 , ข2ด2 , ข3ด1, ข3ด2 }

  38. นายฤทธิเดช สีหาคุณ ม.5/10 เลขที่ 16

    มีลูกบอล4สี คือ สีแดง สีดำ สีขาว สีชมพู และมีกล่องใส่ลูกบอลอยู่ 2 ขนาดคือ กล่องเล็ก และกล่องใหญ่ จะมีวิธีเลือกจัดลูกบอลใส่กล่องได้ทั้งหมดกี่วิธี
    วิธีทำ
    (ลูกบอลสีแดง,กล่องเล็ก) (ลูกบอลสีแดง,กล่องใหญ่) (ลูกบอลสีดำ,กล่องเล็ก) (ลูกบอลสีดำ,กล่องใหญ่) (ลูกบอลสีขาว,กล่องเล็ก) (ลูกบอลสีขาว,กล่องใหญ่) (ลูกบอลสีชมพู,กล่องเล็ก) (ลูกบอลสีชมพู,กล่องใหญ่)
    =(4)(2)
    =8 วิธี
    นั่นคือ ความน่าจะเป็นของการเลือกจัดลูกบอลสีใส่กล่อง ทั้งหมดมี 8 วิธี

  39. นาย ศราวุฒิ ไม้เเก้ว ชั้น ม.5/10 เลขที่11

    เเบบฝึกหัดที่15
    S={ด1ด2,ด1ข1,ด2ข2,ด2ข1,ด2ข2,ข1ข2}
    E={ด1ด2,ข1ข2}
    P(E)=1/3
    2.S{3,4,7,9,10,11}
    E1={4,10} P(E1)=1/3
    E2={3,7,11}P(E2)=1/2
    E3={3,9}P(E3)=1/3
    E4{4,9}P(E4)=1/3
    3.1. P(E1)=3/4
    2.P(E2)=19/20
    3.P(E3)=1/10
    4
    1.1 1/2
    1.2 1/4
    1.3 3/4
    2.1 1/8
    2.2 7/8
    3.1 1/2
    3.2 1/2
    3.3 1/4

  40. เเบบฝึกทักษะที่15
    คำตอบที่ได้
    1.S={ด1ด2,ด1ข1,ด2ข2,ด2ข1,ด2ข2,ข1ข2}
    E={ด1ด2,ข1ข2}
    P(E)=1/3
    2.S{3,4,7,9,10,11}
    E1={4,10} P(E1)=1/3
    E2={3,7,11}P(E2)=1/2
    E3={3,9}P(E3)=1/3
    E4{4,9}P(E4)=1/3
    3.1. P(E1)=3/4
    2.P(E2)=19/20
    3.P(E3)=1/10
    4
    1.1 1/2
    1.2 1/4
    1.3 3/4
    2.1 1/8
    2.2 7/8
    3.1 1/2
    3.2 1/2
    3.3 1/4

  41. นางสาวสุดาภรณ์ จันละคร ชั้นม.5/10 เลขที่ 20

    ตอบคำถามเเบบฝึกหัดที่15
    คำตอบ
    S={ด1ด2,ด1ข1,ด2ข2,ด2ข1,ด2ข2,ข1ข2}
    E={ด1ด2,ข1ข2}
    P(E)=1/3
    2.S{3,4,7,9,10,11}
    E1={4,10} P(E1)=1/3
    E2={3,7,11}P(E2)=1/2
    E3={3,9}P(E3)=1/3
    E4{4,9}P(E4)=1/3
    3.1. P(E1)=3/4
    2.P(E2)=19/20
    3.P(E3)=1/10
    4
    1.1 1/2
    1.2 1/4
    1.3 3/4
    2.1 1/8
    2.2 7/8
    3.1 1/2
    3.2 1/2
    3.3 1/4

  42. นายนธิพงษ์ วงค์อามาตย์ชั้นม.5/10 เลขที่ 1

    คำตอบของเเบบฝึกหัดที่15
    S={ด1ด2,ด1ข1,ด2ข2,ด2ข1,ด2ข2,ข1ข2}
    E={ด1ด2,ข1ข2}
    P(E)=1/3
    2.S{3,4,7,9,10,11}
    E1={4,10} P(E1)=1/3
    E2={3,7,11}P(E2)=1/2
    E3={3,9}P(E3)=1/3
    E4{4,9}P(E4)=1/3
    3.1. P(E1)=3/4
    2.P(E2)=19/20
    3.P(E3)=1/10
    4
    1.1 1/2
    1.2 1/4
    1.3 3/4
    2.1 1/8
    2.2 7/8
    3.1 1/2
    3.2 1/2
    3.3 1/4

  43. น.ส. ศิริลักษณ์ อินทจร ชั้นม.5/10 เลขที่ 28

    คำตอบของเเบบฝึกหัดที่15
    S={ด1ด2,ด1ข1,ด2ข2,ด2ข1,ด2ข2,ข1ข2}
    E={ด1ด2,ข1ข2}
    P(E)=1/3
    2.S{3,4,7,9,10,11}
    E1={4,10} P(E1)=1/3
    E2={3,7,11}P(E2)=1/2
    E3={3,9}P(E3)=1/3
    E4{4,9}P(E4)=1/3
    3.1. P(E1)=3/4
    2.P(E2)=19/20
    3.P(E3)=1/10
    4
    1.1 1/2
    1.2 1/4
    1.3 3/4
    2.1 1/8
    2.2 7/8
    3.1 1/2
    3.2 1/2
    3.3 1/4

  44. ในกล่องใบหนึ่งบรรจุสัมอยู่ 6 ผล เป็นสัมสายน้ำผึ้ง 4 ผลและสัมเขียวหวาน 2 ผล สุ่มหยิบสัมขึ้นมา 3ผล ความน่าจะเป็นที่จะหยิบได้สัมสายร้ำผึ้ง 2 ผล และสัมเขียวหวาน 1 ผลเท่ากับเท่าไร

  45. วรรณนภา เรืองเดช

    ทอดลูกเต๋า 1 ลูก 2 ครั้ง จงหาความน่าจะเป็นที่จะขึ้นแต้ม 2 3 5 ในการทอดครั้งแรก และขึ้นแต้ม 1 3 5 6 ในการทอดครั้งที่สอง

  46. จัดเด็กผู้ชาย 5 คน ผู้หญิง 5 คน ให้ยืนเรียงแถวหน้ากระดาน จงหาความน่าเป็นที่เด็กชาย ก ยืนหัวแถวเสมอและเด็กหญิงกับเด็กชายต้องยืนสลับกัน

  47. มีตำแหน่งว่างอยู่ 5 ตำแหน่ง เป็นตำแหน่งชาย 2 ตำแหน่ง ตำแหน่งหญิง 3 ตำแหน่ง ถ้ามีผู้สมัครชาย 4 คน หญืง 5 คน จะมีวิธีบรรจุเข้าทำงานกี่วิธี

  48. พัชรี โค้วปรีชา

    ในห้องเรียนห้องหนึ่งมีนักเรียนหญิง 18 คน นักเรียนชาย 12คน ถ้าจะเลือกนักเรียน1คนโดยการสุ่ม โอกาสที่จะได้นักเรียนหญิงเท่ากับเท่าไร

  49. ถ้าลูกเต๋า2ลูกโยนพร้อมกันได้เท่ากับ36แล้วเราจะหาผลต่างได้อย่างไร

  50. ปาริฉัตต์ เต็งจังหรีด

    ดีมากกกกกก

ส่งความเห็นที่ นางสาว พรสวรรค์ มหาหงส์ เลขที่ 21 ม.5/8 ยกเลิกการตอบ